การประเมิน ITAการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ หรือ Integrity and Transparency Assessment หรือที่เรียกว่าการประเมิน ITA ถือเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐเครื่องมือหนึ่งโดยเป็นเครื่องมือในเชิงบวกที่มุ่งพัฒนาระบบราชการไทยในเชิงสร้างสรรค์มากกว่ามุ่งจับผิด เปรียบเสมือนเครื่องมือตรวจสุขภาพองค์กรประจำปี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐทั่วประเทศได้รับทราบถึงสถานะและปัญหาการดำเนินงานด้านคณุธรรมและความโปรง่ใสขององค์กร ผลการประเมินที่ได้จะชว่ ยให้หน่วยงานภาครฐั สามารถนำไปใช้ในการปรับปรุงพฒันาองค์กรให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน การให้บริการ สามารถอำนวยความสะดวก และตอบสนองต่อประชาชนได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งถือเป็นการยกระดับมาตรฐานการดำเนินงานภาครัฐดัง นั้น การประเมิน ITA จึงไม่ได้เป็นเพียงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสเพียงเท่านั้น แต่ยังเป็นการประเมินประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชน เพื่อให้ทราบถึงช่องว่างของความไม่เป็นธรรมและความด้อยประสิทธิภาพ สำหรับนำไปจัดทำแนวทางมาตรการต่าง ๆ ในการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบในระบบราชการไทยต่อไป ตัวชี้วัดที่ 9.1 ข้อมูลพื้นฐาน O1 : โครงสร้างพื้นฐาน O2 : ข้อมูลผู้บริหาร O3 : อำนาจหน้าที่ O4 : ข้อมูลการติดต่อ O5 : ข่าวประชาสัมพันธ์ O6 : Q&A ตัวชี้วัดที่ 9.2 แผนการดำเนินงานและงบประมาณ O7 : แผนยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาหน่วยงาน O8 : แผนและความก้าวหน้าในการดําเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณประจําปี O9 : รายงานผลการดำเนินงานประจำปี O10 : คู่มือหรือแนวทางการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ O11 : คู่มือหรือแนวทางหารให้บริการสำหรับผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ O12 : ข้อมูลสถิติการใช้บริการ O13 : E-Service ตัวชี้วัดที่ 9.3 การจัดซื้อจัดจ้าง O14 : รายการการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ O15 : ประกาศต่าง ๆ เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ O16 : ความก้าวหน้าการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ O17 : รายงานสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี ตัวชี้วัดที่ 9.4 การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล O18 : แผนการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล O19 : รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปี O20 : ประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ O21 : การขับเคลื่อนจริยธรรม ตัวชี้วัดที่ 9.5 การส่งเสริมความโปร่งใส O22 : แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ O23 : ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ O24 : ข้อมูลสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ O25 : การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม ตัวชี้วัดที่ 10.1 การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริตในประเด็นสินบน O26 : ประกาศเจตนารมณ์นโยบาย No Gift Policy จากการปฏิบัติหน้าที่ O27 : การสร้างวัฒนธรรม No Gift Policy O28 : รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy O29 : รายงานการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยา O30 : การประเมินความเสี่ยงการทุจริตในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสินบน O31 : รายงานผลการดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปี ตัวชี้วัดที่ 10.2 การส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส O32 : แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต O33 : รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี O34 : มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน O35 : รายงานผลการดำเนินการเพื่อส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน